ปกติการทำ ซั้ง ทำได้หลากหลายวิธีการ จะทำเป็นประการังเทียมก็ได้ หรือทำจากวัสดุท้องถิ่นที่สามารถย่อยสลายในน้ำได้ เช้นเถาวัลย์ ทางมะพร้าว ฯลฯ ซั้งเชือก คือหญ้าเทียมในทะเล ...
สระพวง เป็นชุดสระน้ำ ที่มีสระแม่ สระลูก สระหลาน ต่างขนาดกัน ไล่เรียงกันไปเป็นขั้นๆ แต่เชื่อมต่อกัน โดยอาศัยหลักการน้ำไหลจากที่สูงลงที่ต่ำ ...
ธนาคารแรงงาน เป็นรูปแบบธนาคารแรงงานที่มีการสะสมและแลกเปลี่ยนกำลังแรงงานของสมาชิก โดยพัฒนารูปแบบมาจากประเพณีดั้งเดิมไว้อย่างการแขกเกี่ยวข้าว
เราเชื่อว่าสังคมไทยจะเป็นสังคมอุดมไปด้วยความรักความสุข มีความมั่นคง และพัฒนาก้าวหน้าต่อไปได้ เพราะทุกคนร่วมสร้างสังคมนี้ขึ้นมา ...
วัดจะดีมีหลักฐานเพราะบ้านช่วย บ้านจะสวยเพราะมีวัดดัดนิสัย บ้านกับวัดผลัดกันช่วยก็อวยชัย ถ้าขัดกันก็บรรลัยทั้งสองทาง สุภาษิตนี้ เรามักจะเห็นกันเมื่อไปวัดวาอารามต่างๆ ...
แนวคิดการทำธนาคารน้ำใต้ดิน โดยการขุดบ่อลึกเพื่อส่งน้ำกักเก็บไว้ใต้ดิน เพิ่มปริมาณน้ำบาดาล เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการแก้ปัญหาภัยแล้งในพื้นที่นอกเขตชลประทาน ที่ถูกนำไปใช้ใน ...
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (agro tourism) หมายถึงการเดินทางท่องเที่ยวไปยังพื้นที่เกษตรกรรมสวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟาร์มปศุสัตว์และเลี้ยงสัตว์เพื่อชื่นชมความสวยงาม ...
ฝายมีชีวิตเป็นกระบวนการบรรเทาปัญหาน้ำท่วม น้ำหลาก ปัญหาน้ำแล้ง ปัญหาน้ำใต้ดิน ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ปัญหาเศรษฐกิจชุมชน ปัญหาสังคมการเมืองที่ขาดจิตสำนึกสาธารณะ(พลเมือง) ...
การทอเสื่อกก เป็นภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ที่นำเอาต้นกกมาแปรสภาพให้เป็นเส้น ย้อมสี แล้วสานทอให้เป็นแผ่นผืน เพื่อนำมาใช้ปูลาดรองนั่งหรือนอน หรือทำธุรกรรมต่างๆ ...
กิจการเพื่อสังคม คือ ธุรกิจหรือองค์กรที่ตั้งขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม/สิ่งแวดล้อม โดยมีรายได้หลักมาจากการค้าหรือการให้บริการ (มากกว่าการรับบริจาค) ...
ซีเอสอาร์ เป็นคำย่อจากภาษาอังกฤษว่า Corporate Social Responsibility (CSR) หรือ บรรษัทบริบาล หมายถึง การดำเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร ที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมทั้งในองค์กรและในระดับใกล้และไกล
Banana Society (บานาน่า โซไซตี้) คือแบรนด์ผลิตภัณฑ์กล้วยตากของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยตากบุปผา อ.บางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก โดยเมื่อกว่า 6 ...
การสีข้าว (rice milling) เป็นขั้นตอนการแปรรูปเบื้องต้นของข้าวเปลือกให้ได้เป็นข้าวสาร หรือ ข้าวกล้อง ที่เหมาะสมกับการนำไปรับประทานหรือแปรรูปข้าวเปลือกที่จะนำมาสี ...
ไคเซ็น มาจากภาษาญี่ปุ่น มีความหมายว่า การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแน่นอน เจ้าของหลักการคือคนญี่ปุ่น KAI = ต่อเนื่อง, ZEN = เปลี่ยนแปลง, การทำให้ดีขึ้น
ในสมัยหลายสิบปี ที่ผ่านมาแล้วตั้งแต่ยังไม่มีเชือกฟาง พ่อค้าแม่ค้าในตลาดสดส่วนใหญ่ใช้เชือกกล้วยผูกสินค้า เช่นหมูผัก ต่าง ๆ ให้ลูกค้า ...